หน้าเว็บ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วันพุธ  ที่  15 กุมภาพันธ์ พ..2560



ความรู้ที่ได้รับ

Project Approach เรื่อง ข้าวของพ่อ สามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง แบ่งการดำเนินเป็น 3 ระยะ ได้แก่
-          ระยะที่ ระยะเริ่มต้น ครูและเด็กแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตั้งคำถามที่น่าสนใจ
-          ระยะที่ 2  ระยะพัฒนา ครูจัดประสบการณ์ขึ้นมาให้เด็กเกิดประสบการณ์ใหม่ เด็กและครูได้ทำ ไข่พระอาทิตย์ ร่วมกัน

-          ระยะที่ 3  ระยะสรุป ครูเปิดโอกาสให้เด็กมีความรู้ จากการทำกิจกรรม และเด็กยังได้ใช้และเรียนรู้กระบวนการทำกิจกรรม โดยใช้หลัก STEM 



    















 
 S = Science           (วิทยาศาสตร์) 
T = Technology     (เทคโนโลยี)  
      E = Engineering    (วิศวกรรมศาสตร์
M = Mathematics   (คณิตศาสตร์)


สื่อนวัตกรรมการสอน
บางทีเด็กอาจไม่สามรถทำได้  แต่ควรย้ำว่าให้ลองอีกที เด็กขึงจะสามารถแก้ไขปัญหาได้
สนุกกับเลข 
- เด็กมีส่วนร่วมในการสอน
- ตั้งโจทย์เอง มีข้อตกลง


แผนการจัดการเรียนรู้

  ในการจัดการเรียนรู้ของรัฐบาลและเอกชนมีความแตกต่างกัน มีวิธีการเขียนแผนการสอนที่แตกต่างกัน แต่เน้นการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กเหมือนกัน ครูจะไม่สอนให้เด็กหัดอ่าน หัดเขียน เพราะเด็กจะไม่ได้พัฒการทักษะ


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

   จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานในวันนี้ เรื่องที่น่าสนใจมากๆก็คือการสอนวิธี Project Approach วิธีการสอบแบบนี้จะสามารถทำให้เด็กร้ลึกรู้จริง และยังรู้อีกว่า แผนการสอนของรัฐบาลและเอกชนอตกต่างกัน

ประเมิน

ตนเอง : มีความสนใจเรื่อง Project Approach อย่างมาก เพราะเข้าใจง่าย
เพื่อน : ให้ความสนใจของเรืองต่างๆ โดยเฉพระเรื่องแผนการสอน
อาจารย์ : มีการเสริมให้ความรู้ตลอดเวลา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น